วันพุธที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2555

นางสาวศิรินทรา ชัยภา ชั้น ปวส.1/2 บัญชี

แบบฝึกหัดบทที่ 3  
การประมวลผลข้อมูล (Data  Processing)
ตอนที่ 1
1.  ข้อมูลปฐภูมิและข้อมูลทุติยภูมิต่างกันอย่างไร
ตอบ  ข้อมูลปฐมภูมิ คือ ข้อมูลที่ได้จากแหล่งกำเนิดข้อมูลโดยตรงจากการสัมภาษณ์สอบถาม
          ข้อมูลทุติยภูมิ  คือ ข้อมูลที่มีผู้เก็บรวบรวมไว้แล้วสามารถนำมาใช้งานได้ทันที

2.  อธบายความหมายของ "เขตข้อมูล"(Field)
ตอบ  ชุดอักษรที่สัมพันธ์กัน  เช่น ในการจัดทำป้ายจ่าหน้าซองจดหมายถึงสมาชิกของศูนย์สุขภาพ

3.  วิธีจัดการแฟ้มข้มมูลแบบใดเข้าถึงข้อมูลได้เร็วที่สุด  เพราะเหตุใดและมีประโยนช์อย่างไร ยกตัวอย่าง
ตอบ  การประมวลผลเป็นข้อมูลโดยตรง  คอมพิวเตอร์ต้องไปจ่ายทะเบียนทั้งหมดในแฟ้ม แม้ว่าทะเบียนจะจัดเรียงตามระดับ

ตอนที่ 3
1. Sytem  Analyst
ตอบ  นักวิเคราะห์ระบบ  มีหน้าที่วิเคราะห์ออกแบบและนำระบบสารสนเทศบนคอมพิวเตอร์เป็นพื้นฐานมาใช้งาน

2.  MIS
ตอบ  ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร  เป็นการผสมผสานกันระหว่างโครงสร้างฐานข้อมูลกับงานสารสนเทศอย่างเหมาะสม  เพื่อรวมกันนำเสนอ

3.  DSS
ตอบ  ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ  เป็นความก้าวหน้าของระบบการรายงานสารสนเทศและระบบการประมวลผลรายการระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

4.  EIS
ตอบ  ระบบผู้เชี่ยวชาญ  เป็นส่วนหนึ่งในการค้นคว้าระบบปัญญาประดิษฐ์  ซึ่งทำการศึกษาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ในการหาเหตุผล

5.  ES
ตอบ  ระบบผู้เชี่ยวชาญ  เป็นส่วนหนึ่งในการค้นคว้าระบบปัญญาประดิษฐ์  ซึ่งทำการศึกษาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ในการหาเหตุผล

6.  Knowledge  Base
ตอบ  ฐานความรู้  เป็นศูนย์กลางของระบบผู้เชี่ยวชาญที่ใช้กฏเป็นพื้นฐานประกอบด้วยข้อเท็จจริง  ที่จำเพาะเจาะจงเกี่ยวกับความชำนายแต่ละด้าน

7.  User  Interface
ตอบ  ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้  หมายถึง  เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์บนจอภาพ แสดงถึงความพร้อม ที่จะรับคำสั่งหรือข้อมูลผู้ใช้

8.  Inferende  Engine
ตอบ  เครื่องอนุมาน  หมายถึง  ระบบของโปรแกรมที่ใช้ในการสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญเครื่องอนุมานจะประยุกต์ใช้ข้อเท็จจริง

9.  Data  Structured
ตอบ  การประมวลผลข้อมูลในคอมพิวเตอร์  ข้อมูลดิบ  จะต้องจัดเก็บไว้ในหน่วยข้อมูลอย่างมีระเบียบ

10.  Semi  Structured
ตอบ  ข้อมูลความรู้จะเป็นลักษณะ  แบบกึ่งโครงสร้าง


แบบฝึกหัดบทที่ 4 
การวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
ตอนที่ 1
1.  อธิบายความหมายของ"การวิเคราะห์ระบบ"
ตอบ  กระบวนการเกี่ยวกับการศึกษาระบบที่มีอยู่แล้วเพื่อกำหนดวิธีการทำงานและวิธีการที่ผู้ใช้ต้องการ  แรวิเคราะห์ระบบเป็นการวางแผนงาน

2.  วงจรการพัฒนาระบบมีกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง
ตอบ  มี  5  ขั้นตอน  1.  ขั้นเตรียมการ  สำรวจ  กำหนดปัญหา
                                 2. การวิเคราะห์ทำความเข้าใจกับระบบเดิม
                                 3.  การออกแบบ  การวางแผนออกแบบระบบใหม่
                                 4.  การพัฒนา
                                 5.  การนำไปใช้ การเปลี่ยนไปใช้ระบบใหม่

3.  แผนภาพกระแสข้อมูลมีประโยชน์อย่างไร
ตอบ  มีประโยชน์มากสำหนับการอธิบายกระบวนการทำงานและการไหลของข้อมูล ช่วยในการสื่อสาร ระหว่างนักวิเคราะห์ระบบกับผู้ใช้ระบบ

วันพฤหัสบดีที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2555

แบบฝึกหัดบทที่ 2
 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์

ตอนที่ 1

1. ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยส่วนที่สำคัญกี่ส่วน อะไรบ้าง
          มีทั้งหมด 3 ส่วน คือ  ฮาร์ดแวร์  ซอฟต์แวร์  และ บุคลากร

2.  หน่วยรับโปรแกรมและข้อมูลแบ่งออกเป็น  3   ประเภท  อะไรบ้าง
          -  อุปกรณ์แบบธรรมดา
          -  อูปกรณ์แบบพิเศษ
          -  อุปกรณ์รับข้อมูลโดยตรง

3.  หน่วยความจำขนาด  4  GB  มีความจุกี่ไบต์
          4,294,967,296 ไบต์

4.  RAM  คืออะไร
          หน่วยความจำชั่วคราวเป็นหน่วยจัดเก็บโปรแกรมและข้อมูลในระหว่างการทำการประมวลผล

5.  ROM  ต่างจาก RAM อย่างไร มีกี่ชนิด  ชนิดใดนำไปใช้กับระบบ  pos
           ROM  หน่วยความจำชนิดอ่านอย่างเดียวจะเก็บ RAM หน่วยความจำชั่วคราวเป็นหน่วยจัดเก็บโปรแกรมและคำสั่งการชนิดของ ROM ดังนี้ ข้อมูลในระหว่างทำการประมวลชนิด RAM  ก. PAOM
ข.  EPROM  ค.  EEPROM   DRAM , SRAM


ตอนที่ 3

1.  ซอฟต์แวร์คืออะไร  แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง จงอธิบาย
          โปรแกรมหรือชุดคำสั่งในการควบคุมหรือสั่งให้ซอฟต์แวร์ปฏิบัติงานได้ตามวัตถุประสงค์  แบ่งออกเป็น 2 ประเภท   1. ซอฟต์แวร์ระบบ     2.  ซอฟต์แวร์ประยุกต์


2.  โปรแกรมประเภท ฟรีแวร์ (Freeware)  แชร์แวร์(Shareware)  เฟิร์มแวร์ (Firmware)  เป็นอย่างไร  จงอธิบาย
          เป็นโปรแกรมประยุกต์  ที่ได้รับการพัฒนาไปตามเทคโนโลยีของฮาร์ดแวร์ที่มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลาและมีลิขสิทธิ

ความแตกต่างของจอภาพแบบ CRT,LCD,LED และ OED

1.        จอภาพแบบ CRT
จอภาพแบบ CRT มีขนาดใหญ่ น้ำหนักมาก ใช้เนื้อที่วางเยอะ เหมือนจอโทรทัศน์

2.   จอภาพแบบ LCD
               จอ LCD เป็นจอแสดงผลแบบ (Digital ) โดยภาพที่ปรากฏขึ้นเกิดจากแสงที่ถูกปล่อยออกมาจากหลอดไฟด้านหลังของจอภาพ (Black Light) ผ่านชั้นกรองแสง (Polarized filter) แล้ววิ่งไปยัง คริสตัลเหลวที่เรียงตัวด้วยกัน 3 เซลล์คือ แสงสีแดง แสงสีเขียวและแสงสีนํ้าเงิน กลายเป็นพิกเซล (Pixel) ที่สว่างสดใสเกิดขึ้น โดย ต้องทำความเข้าใจก่อนว่า จอ LCD ไม่เหมือนจอแสดงผลธรรมดา LCD ไม่ใช่แก้ว ( แต่ก็มีบางชนิดที่ มีส่วนผสมของแก้ว เพื่อทำให้จอหนาเป็นพิเศษ ทุบไม่แตก ) แต่ทำมาจากฟิล์มอ่อนบางที่เกิดความเสียหายได้จากกระดาษทิชชู่อย่างหยาบ คลอรีนและสารเคมีอื่นๆในน้ำประปา จอเหล่านี้บอบบางมาก ต้องดูแลอย่างดีและเบามือมากๆ

3.      จอภาพแบบ  LED
          จอ LED ก็คือ การแสดงแสงที่สว่างสดใสมากกว่า มีความคมชัดมากกว่า ทำงานเร็วและประหยัดไฟมากกว่า น้ำหนักเบากว่า สามารถมองจากมุมมองด้านต่างๆได้ทั้งสี่ด้านของจอ แม้ว่าจะมองมุมไหน ก็ยังสามารถเห็นภาพที่คมชัดและสมจริงได้อยู่ดีนั่นเอง

4.      จอภาพแบบ  OED
          จอ OED screen มีขนาดหน้าจอที่ใหญ่ถึง 5 นิ้ว และความละเอียดที่ 960×544 pixel มีระบบ sixaxis มีกล้องหน้าหลัง จอแบบสัมผัส และรองรับระบบ 3G 

จอ OED screen มีขนาดหน้าจอที่ใหญ่ถึง

วันพุธที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2555


ประสิทธิภาพความแตกต่างของ CPU  Intel  และ AMD
CPU  Intel
Intel Core i7 Processor Extreme Edition  เร็วที่สุด สำหรับเล่นเกมและการทำงานมัลติทาสกิ้ง (ทำงานมากว่าหนึ่งอย่างในเวลาเดียวกัน)
Intel Core i7 Processor                    ทำงานได้เร็วมาก แต่น้องๆ เป็นรองเฉพาะ Extreme Edition
Intel Core 2 Extreme Processor   ถือเป็นซีพียู Quad-Core
Intel Core 2 Quad Processor         รองรับงานมัลติมีเดีย HD และเกม
Intel Core 2 Duo Processor            รองรับงานมัลติมีเดีย HD พร้อมประหยัดพลังงาน
Intel Pentium Processor                 รองรับการทำงานมัลติทาสกิ้งด้วย
Intel Celeron processor (Dual Core)          ทำงานได้ดีระดับหนึ่ง
Intel Celeron processor (Single Core)       ทำงานได้ดีระดับหนึ่ง แต่ยังเป็นรอง Dual Core)
Intel Atom processor                       สำหรับ Netbook โดยเฉพาะ เหมาะสำหรับใช้เล่นอินเตอร์เน็ต

CPU  AMD
ซีพียู AMD K6-2
         
ซีพีรุ่นนี้เป็นรุ่นแรกที่ AMD ใส่คำสั่งแบบ 3Now! เข้าไปใน K6 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการประมวลผลคำสั่งที่มีข้อมูลจำนวนมาก เช่นการคำนวณทางด้านสามมิติ โดยเป็นการเพิ่มขึ้นจากชุดคำสั่งแบบ MMX (ที่คอมแพตติเบิลกับของ Intel) ซึ่งมีอยู่แล้วใน K6 นอกจากนี้ยังเป็นครั้งแรกที่ใช้บัส 100 MHz และ ซ็อคเก็ตแบบ Socket 7 หรือ Super 7 แต่อย่างไรก็ตาม K6-2 ยังคงใช้แคชระดับสองอยู่ภายนอกซีพียู โดยมีขนาด 512 KB, 1 MB หรือ 2 MB ซึ่งต้องทำงานที่ความเร็วเดียวกันกับบัสภายนอก ทำให้ไม่ได้ประสิทธิภาพเท่าที่ควร หลังจากนั้นไม่นาน AMD ก็ออก K6-3 ที่มีแคชระดับสองอยู่ในตัว ทำให้ทุกสิ่งทุกอย่างดีขึ้น แต่ K6-2 ก็ยังคงมีอยู่มากมายหลายรุ่นราคาถูกมา ๆ เหมาะสำหรับู้ต้องการเริ่มต้นซื้อเครื่องที่ลงทุนน้อยแต่ได้คุณภาพสูงพอสมควร ความเร็วของซีพียูรุ่นนี้มีตั้งแต่ 300 MHz ขึ้นไปจนถึง 457 MHz