วันพุธที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2555

นางสาวศิรินทรา ชัยภา ชั้น ปวส.1/2 บัญชี

แบบฝึกหัดบทที่ 3  
การประมวลผลข้อมูล (Data  Processing)
ตอนที่ 1
1.  ข้อมูลปฐภูมิและข้อมูลทุติยภูมิต่างกันอย่างไร
ตอบ  ข้อมูลปฐมภูมิ คือ ข้อมูลที่ได้จากแหล่งกำเนิดข้อมูลโดยตรงจากการสัมภาษณ์สอบถาม
          ข้อมูลทุติยภูมิ  คือ ข้อมูลที่มีผู้เก็บรวบรวมไว้แล้วสามารถนำมาใช้งานได้ทันที

2.  อธบายความหมายของ "เขตข้อมูล"(Field)
ตอบ  ชุดอักษรที่สัมพันธ์กัน  เช่น ในการจัดทำป้ายจ่าหน้าซองจดหมายถึงสมาชิกของศูนย์สุขภาพ

3.  วิธีจัดการแฟ้มข้มมูลแบบใดเข้าถึงข้อมูลได้เร็วที่สุด  เพราะเหตุใดและมีประโยนช์อย่างไร ยกตัวอย่าง
ตอบ  การประมวลผลเป็นข้อมูลโดยตรง  คอมพิวเตอร์ต้องไปจ่ายทะเบียนทั้งหมดในแฟ้ม แม้ว่าทะเบียนจะจัดเรียงตามระดับ

ตอนที่ 3
1. Sytem  Analyst
ตอบ  นักวิเคราะห์ระบบ  มีหน้าที่วิเคราะห์ออกแบบและนำระบบสารสนเทศบนคอมพิวเตอร์เป็นพื้นฐานมาใช้งาน

2.  MIS
ตอบ  ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร  เป็นการผสมผสานกันระหว่างโครงสร้างฐานข้อมูลกับงานสารสนเทศอย่างเหมาะสม  เพื่อรวมกันนำเสนอ

3.  DSS
ตอบ  ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ  เป็นความก้าวหน้าของระบบการรายงานสารสนเทศและระบบการประมวลผลรายการระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

4.  EIS
ตอบ  ระบบผู้เชี่ยวชาญ  เป็นส่วนหนึ่งในการค้นคว้าระบบปัญญาประดิษฐ์  ซึ่งทำการศึกษาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ในการหาเหตุผล

5.  ES
ตอบ  ระบบผู้เชี่ยวชาญ  เป็นส่วนหนึ่งในการค้นคว้าระบบปัญญาประดิษฐ์  ซึ่งทำการศึกษาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ในการหาเหตุผล

6.  Knowledge  Base
ตอบ  ฐานความรู้  เป็นศูนย์กลางของระบบผู้เชี่ยวชาญที่ใช้กฏเป็นพื้นฐานประกอบด้วยข้อเท็จจริง  ที่จำเพาะเจาะจงเกี่ยวกับความชำนายแต่ละด้าน

7.  User  Interface
ตอบ  ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้  หมายถึง  เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์บนจอภาพ แสดงถึงความพร้อม ที่จะรับคำสั่งหรือข้อมูลผู้ใช้

8.  Inferende  Engine
ตอบ  เครื่องอนุมาน  หมายถึง  ระบบของโปรแกรมที่ใช้ในการสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญเครื่องอนุมานจะประยุกต์ใช้ข้อเท็จจริง

9.  Data  Structured
ตอบ  การประมวลผลข้อมูลในคอมพิวเตอร์  ข้อมูลดิบ  จะต้องจัดเก็บไว้ในหน่วยข้อมูลอย่างมีระเบียบ

10.  Semi  Structured
ตอบ  ข้อมูลความรู้จะเป็นลักษณะ  แบบกึ่งโครงสร้าง


แบบฝึกหัดบทที่ 4 
การวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
ตอนที่ 1
1.  อธิบายความหมายของ"การวิเคราะห์ระบบ"
ตอบ  กระบวนการเกี่ยวกับการศึกษาระบบที่มีอยู่แล้วเพื่อกำหนดวิธีการทำงานและวิธีการที่ผู้ใช้ต้องการ  แรวิเคราะห์ระบบเป็นการวางแผนงาน

2.  วงจรการพัฒนาระบบมีกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง
ตอบ  มี  5  ขั้นตอน  1.  ขั้นเตรียมการ  สำรวจ  กำหนดปัญหา
                                 2. การวิเคราะห์ทำความเข้าใจกับระบบเดิม
                                 3.  การออกแบบ  การวางแผนออกแบบระบบใหม่
                                 4.  การพัฒนา
                                 5.  การนำไปใช้ การเปลี่ยนไปใช้ระบบใหม่

3.  แผนภาพกระแสข้อมูลมีประโยชน์อย่างไร
ตอบ  มีประโยชน์มากสำหนับการอธิบายกระบวนการทำงานและการไหลของข้อมูล ช่วยในการสื่อสาร ระหว่างนักวิเคราะห์ระบบกับผู้ใช้ระบบ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น